วันศุกร์ที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทินครั้งที่ 16

สอบร้องเพลง หนูจับได้ "ลุงมาชาวนา"
           
เพลง ลุงมาชาวนา
ลุงมาชาวนาเลี้ยงวัว เลี้ยงควาย
  เอาไว้ใช้ไถนา
ลุงมาชาวนาเลี้ยงหมา เลี้ยงเเมว
  ไว้เป็นเพื่อนลุงมา
* หมาก็เห่า บ๊อก บ๊อก
เเมวก็ร้อง เมี๊ยว เมี๊ยว 
ลุงมาไถนา วัวร้อง มอ มอ (ซำ้)
       

บันทึกอนุทินครั้งที่ 15

การเขียนแผน IEP 
  •    คัดแยกเด็กพิเศษ
  •    ครูต้องรู้ว่าเด็กมีปัญหาอะไร
  •    ประเมินพัฒนาการเด็กเป็นระยะ
  •    เด็กสามารถทำอะไรและทำอะไรไม่ได้บ้าง
  •    จึงเริ่มเขียนแผน IEP

   IEP ประกอบด้วย 
  •     ข้อมูลส่วนตัวเด็ก
  •     ระบุว่าเด็กมีความจำเป็นต้องได้รับบริการอะไรพิเศษบ้าง
  •     ระบุความสามารถของเด็กในปัจจุบัน
  •     เป้าหมายระยะยาว - ระยะสั้น
  •     ระบุวัน เดือน ปีที่เริ่มทำการสอน และคาดคะเนการสิ้นสุดของแผน
  •     วิธีการประเมินผล

ประโยชน์ต่อเด็ก 
  
  •     ได้เรียนรู้ความสามารถของตนเอง
  •     ได้โอกาสพัฒนาความสามรถของตนเอง
  •    ได้รับการศึกษาและฟื้นฟูต่อเนื่องอย่างเหมาะสม
ประโยชน์ต่อครู 

  •  เป็นแนวทางในการเลือกสื่อในการสอนและวิธีการสอน ที่เหมาะสมกับเด็ก
  •  เป็นแนวทางการจัดการเรียนการสอนที่ตรงกับความสามรถและความต้องการของเด็ก
  •  ตรวจสอบและประเมินผลได้เป็นระยะ

ประโยชน์ต่อผู้ปกครอง 
  •    ได้มีส่วนร่วมในการจัดทำแผนการเรียนรายบุคคล เพื่อให้เด็กพัฒนาความสามรถได้สูงสุดตามศักยภาพ
  •   เกิดความร่วมมือในการพัฒนาเด็ก มีการติดต่อสื่อสารกันอย่างต่อเนื่องและใกล้ชิดระหว่างบ้านกับโรงเรียน

ขั้นตอนการทำแผน IEP 

  •     การกำหนดจุดมุ่งหมาย ระยะยาว/ระยะสั้น
  •    การรวบรวมข้อมูล ทางการแพทย์ การประเมินด้านต่างๆ  บันทึกจากครู     ผู้ปกครองและผู้ที่เกี่ยวข้อง 

บันทึกอนุทึกครั้งที่ 14



                             ไม่มีการเรียนการสอนเพราะหยุดเทศกาลสงกรานต์

                      

บันทึกอนุทินครั้งที่ 13

การส่งเสริมทักษะต่างๆของเด็กพิเศษ
ทักษะพื้นฐานทางการเรียน

เป้าหมาย
   ช่วยให้เด็กเรียนรู้ได้
   มีความรู้สึกดีต่อตนเอง
   *เด็กรู้สึกว่า  ฉันทำได้
   อยากรู้อยากเห็น
   อยากสำรวจ  ทดลอง

ช่วงความสนใจ
   นิทานที่ใช้ต้องเล้าใจเวลาไม่นาน
   กิจกรรมศิลปะสำหรับเด็กพิเศษต้องไม่นานแปปเดียวเสร็จ  เพื่อที่เด็กจะได้รู้สึกว่าฉันทำได้

การเลียนแบบ
   เลียนแบบคนใกล้ตัว  ทักษะพื้นฐานการเรียน

การทำตามคำสั้ง  คำแนะนำ
   ต้องสั่งให้ทำพร้อมกับเพื่อนเพื่อที่เด็กพิเศษจะได้ทำ  พอทำบ่อยๆเด็กพิเศษก็สามารถทำเองได้

การรับรู้
   ได้ยิน  เห็น  สัมผัส  ลิ้มรส  กลิ่น
   ตอบสนองที่เหมาะสม

การควบคุมกล้ามเนื้อมัดเล็ก
   การกรอกน้ำ  ตรวงน้ำ
   ต่อบล็อก
   ศิลปะ
   มุมบ้าน
   ช่วยเหลือตนเอง
ความจำ
   สนทนา
   เมื่อเช้าหนูทานอะไรมา
   แกงจืดที่เรากินใส่อะไรบ้าง
  จำตัวละครในนิทาน
   จำชื่อครู  เพื่อน
   เล่นเกมทายของที่หาย

ทักษะคณิตศาสตร์  วิทยาศาสตร์
   
การวางแผนการเตรียมพื้นฐานทางวิชาการ
   จัดกลุ่มเด็ก
   เริ่มต้นการเรียนรู้โดยใช้เวลาสั้นๆ
   ใช้งานเด็กแต่ละคนอย่างชัดเจนว่าต้องทำอะไร
   ตืดชื่อเด็กตามที่นั่ง
   ใช้อุปกรณ์ที่เด็กคุ้นเคย
   บันทึกว่าเด็กชอบอะไรที่สุด
   รู้ว่าเมื่อไหร่จะเปลี่ยนงาน
   มีอุปกรณ์ให้สับเปลี่ยนใกล้มือ
   เตรียยมทุกอย่างให้พร้อมก่อนเด็กมาถึง
   พูดในทางที่ดี  (  ชมเข้าไว้)
   จัดกิจกรรมที่เด็กได้เคลื่อนไหว
   ทำบทเรียนให้สนุก

บันทึกอนุทึกครั้งที่ 12

ไม่มีการเรียนการสอน แต่ให้ช่วยกันเตรียมอุปกรณ์งานกีฬาสีของคณะ

บันทึกอนุทินครั้งที่ 11

ไม่มีการเรียนการสอน

บันทึกอนุทินครั้งที่ 10

การส่งเสริมทักษะต่างๆของเด็กพิเศษ

ทักษะการช่วยเหลือตัวเอง

เรียนรู้การดำรงชีวิตโดยอิสระให้มากที่สุด

- การกินอยู่
- การเข้าห้องน้ำ
- การแต่งตัว
- กิจวัตรต่างๆในชีวิตประจำวัน

การสร้างความอิสระ

- เด็กอยากช่วยเหลือตนเอง
- อย่าทำงานตามความสามารถ
- เด็กเลียนแบบการช่วยเหลือตนเองจากเพื่อน เด็กที่โตกว่าและผู้ใหญ่
ลำดับขั้นในการช่วยเหลือตนเอง

  ครูต้องย่อยงานให้เด็กเป็นทักษะการช่วยเหลือตนเองออกเป็นขั้นย่อยๆ  เรียงตามลำดับขั้นตอน   
เช่น   การเข้าส้วม

  • เข้าไปในห้องส้วม
  • ดึงกางเกงลงมา
  • ก้าวขึ้นไปนั่งบนส้วม
  • ปัสสาวะหรืออุจจาระ
  • ใช้กระดาษขำระเช็ดก้น
  • ทิ้งกระดาษชำระในตะกร้า
  • กดชักโครกหรือตักน้ำราด
  • ดึงกางเกงขึ้น
  • ล้างมือ
  • เช็ดมือ
  • เดินออกจากห้องส้วม

บันทึกอนุทินครั้งที่ 9

การส่งเสริมทักษะต่างๆของเด็กพิเศษ

   ทักษะภาษา
      การวัดความสามารถทางภาษา
      - เข้าใจสิ่งที่ผู้อื่นพูดไหม
      - ตอบสนองเมื่อมีคนพูดด้วยไหม
      - ถามหาสิ่งต่างๆไหม
      - บอกเล่าเหตุการณ์ต่างๆ  ที่เกิดขึ้นได้ไหม
      - ใช้คำศัพท์ของตัวเองกับเด็กคนอื่นไหม

      การออกเสียงผิด/พูดไม่ชัด
      - การพูดตกหล่น
      - การใช้เสียงหนึ่งแทนเสียงหนึ่ง
      - ติดอ่าง
      
      การปฏิบัติของครูและผุ้ใหญ่
      - ไม่สนใจในการพูดซ้ำหรือการออกเสียงไม่ชัด
      - *ห้ามบอกเด็กว่าพูดช้าๆ  ตามสบาย  คิดก่อนพูด
      - อย่าขัดจังหวะขณะเด็กพูด
      - อย่าเปลี่ยนมือข้างที่ถนัดของเด็ก
      - ไม่เปรียบเทียบการพูดของเด็กกับเด็กคนอื่น
      - เด็กที่พูดไม่ชัดอาจเกี่ยวข้องกับการได้ยิน
   
      ทักษะพื้นฐานทางภาษา
      - ทักษะการรู้ทางภาษา
      - การแสดงออกทางภาษา
      - การสื่อความหมายโดยไม่ใช้คำพูด

วันพฤหัสบดีที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทินครั้งที่ 8

การเสริมทักษะต่างๆของเด็กพิเศษ

ทักษะทางสังคม
  • เด็กพิเศษที่ขาดทางสังคม ไม่ได้มีสาเหตุมาจากพ่อแม่
  • การอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ดีไม่ได้เป็นเครื่องรับประกันว่าเด็กจะมีพัฒนาการต่างๆอย่างมีความสุข
กิจกรรมการเล่น
  • การเล่นเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่งต่อการเรียนรู้ทักษะทางสังคม
  • เด็กจะสนใจกันเองโดยอาศัยการเล่นจากสื่อ
ยุทธศาสตร์การสอน
  • เด็กพิเศษหลายๆคนไม่รู้วิธีการเล่น ไม่รู้ว่าจะเล่นอย่างไร
  • ครูเริ่มต้นจากกานสังเกตเด็กแต่ล่ะคนอย่างเป็นระบบ
  • ครูจดบันทึก
  • ทำแผน IEP
การกระตุ้นการเลียนแบบและการเอาอย่าง
  • วางแผนกิจกรรมการเล่นไว้หลายอย่าง
  • คำนึงถึงเด็กทุกๆคน
  • ให้เด็กเล่นเป็นกลุ่มเล็กๆ 2-4 คน
ครูปฏิบัติอย่างไรขณะเด็กเล่น
  • อยู่ใกล้ๆ เฝ้ามองอย่างสนใจ
  • ยิ้มและพยักหน้าให้ เมื่อเด็กหันมาหาครู
  • ไม่ชมเชยหรือสนใจเด็กมากเกินไป
  • ให้ความคิดเห็นที่เป็นแรงเสริม
การให้แรงเสริมทางสังคมในบริบทที่เด็กเล่น
  • ครูพูดชักชวนให้เด็กมาร่วมเล่นกับเพื่อน
  • ทำธดย การพูดนำของครู
ช่วยเด็กทุกคนให้รู้กฏเกณฑ์
  • ไม่ง่ายสำหรับเด็กพิเศษ
  • การให้โอกาสเด็ก
  • เด็กพิเศษต้องเรียนรู้สิทธิต่างๆเหมือนเพื่อนในห้อง
  • ครูต้องไม่ใช้ความพบพร่องของเด็กพิเศษเป็นเครื่องต่อรอง

โดยให้จับคู่ คนหนึ่งวาดเส้น อีกคนจุดเส้นวงกลมโยให้คนที่วาดเส้นตามเพลงดนตรีแล้วให้อีกคนจุดภาพที่เป็นวงกลม




บันทึกอนุทินครั้งที่ 7

สอบ


บันทึกอนุทินครั้งที่ 6


การสอนเด็กพิเศษกับเด็กปกติ

การฝึกเพิ่มเติม

  • อบรมระยะสั้น สัมมนา
  • สื่อต่างๆ


การเข้าใจภาวะปกติ

  • เด็กคล้ายคลึงกันมากกว่าแตกต่าง
  • ครูต้องมีปฏิสัมพันธ์กับเด็กปกติและเด็กพิเศษ
  • รู้จักเด็กแต่ล่ะคน
  • มองเด็กให้เป็น
การคัดแยกเด็กที่ทีพัฒนานาการช้า
  • การเข้าใจพัฒนานาการของเด็ก จะช่วยให้ครูสามารถมองเห็นความแตกต่างของเด็กแต่ละคนได้ง่าย
ความพร้อมของเด็ก
  • วุฒิภาวะ
  • แรงจูงใจ
  • โอกาส
การสอนโดยบังเอิญ
  • ให้เด็กเป็นฝ่ายเริ่ม
  • เด็กเข้าหาครูมากเท่าไรยิ่งมีโอกาสในการสอนมากขึ้นเท่านั้น
  • ครูต้องพร้อมที่จะพบเด็ก
  • ครูต้องมีความสนใจเด็ก
  • ครูต้องใช่เวลาคุยไม่นานไป
  • ครูต้องมีอุปกรณ์ล่อใจเด็ก
อุปกรณ์
  • มีลักษณะง่ายๆ
  • ใช้ประโยชน์ได้หลายอย่าง
ตารางประจำวัน
  • เด็กพิเศษไม่สามารถยอมรับการเปลี่ยนแปลงสิ่งที่ทำอยุเป็นประจำ
  • กิจกรรมต้องเรียงลำดับเป็นขั้นตอน
  • เด็กจะรู้สึกปลอดภัย
  • คำนึงถึงความพอเหมาะของเวลา
ความยืดหยุ่น
  • การแก้แผนการสอนให้เหมาะสมกับสถานการณ์
  • ยอมรับขอบเขตความสามารถของเด็ก
การใช้สหวิทยาการ
  • ใจกว้างต่อคำแนะนำของบุคคลในอาชีพอื่น
  • การสร้างสัมพันธ์ระหว่างการบำบัดกิจกกรมในชั้นเรียน
เด็กทุกคนสอนได้
  • เด็กเรียนไม่ได้เพราะไร้ความสามารถ
  • เด็กเรียนไม่ได้เพราะขาดโอกาส
เทคนิคการให้แรงเสริม
แรงเสริมทางสังคมจากผู้ใหญ่
  • ความสนใจของผู้ใหญ่ที่มีต่อเด็กนั้นสำคัญมาก
  • มีแนวโน้มจะเพิ่มพฤติกรรมที่ดีของเด็ก
วิธีการแสดงออกถึงแรงเสริมผู้ใหญ
  • ตอบสนองวาจา
  • การยืนหรือนั่งใกล้เด็ก
  • พยักหน้ารับ ยิ้ม ฟัง
  • สัมผัสทางกาย
การแนะนำหรือบอกบท
  • ย่อยงาน
  • ลำดับความง่ายยากของงาน
ขั้นตอนการให้แรงเสริม
  • สอนจากง่ายไปยาก
  • ไม่ดุหรือตี
  • ลดการบอกบท เมื่อเด็กเรียนรู้ที่จะก้าวไปชั้นต่อไป
  • งเด็กพิเศษเป็นเครื่องต่อรอง

การประเมิน

ตนเอง
วันนี้ตั้งใจเรียนดี มีการกินอาหารในห้องเรียนบ้างเล็กน้อย
เพื่อน
ตั้งใจเรียนดี มีคุยกันบ้างเป็นบางส่วน
อาจารย์ 
สอนดีสนุก

บันทึกอนุทินครั้งที่ 5


วันนี้นักศึกษาทุกคนร่วมกันเซอร์ไพร์วันเกิดให้อาจารย์



และได้ถ่ายรูป



ร้องเพลงสำหรับเด็กปฐมวัย


บันทึกอนุทินครั้งที่ 4

วันนี้งดการเรียนการสอน เนื่องจากอาจารย์ไปเป็นวิทยากร จึงให้นักศึกษษทำบล็อกให้เสร็จและเป็นปัจจุบัน

วันเสาร์ที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทินครั้งที่ 3

1 เรื่องการจัดการศึกษาสำหรับเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ

-เด็กที่มีความต้องการพิเศษทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาได้ถ้าได้รับโอกาสในการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับความต้องการพิเศษของเขา 

การเรียนร่วมบางเวลา (Integration)
 -การจัดให้เด็กพิเศษเรียนในโรงเรียนปติได้บางเวลาก็คือการที่เด็กพิเศษเข้าไปเรียนในช่วงใดช่วงหนึ่ง    ของการจัดกิจกรรม
เช่น 1).กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ(กิจกรรมนี้เป็นกิจกรรมที่เด็กพิเศษจะชอบมากที่สุดเพราะว่าเคขาได้เต้นได้ทำตามจินตนาการได้รับความสนุกสนาน)
2.)กิจกรรมดนตรี 
3.)กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
-เด็กพิเศษได้มีโอกาสแสดงออกและมีปฎิสัมพันธ์ที่ดีกับเด็กปกติ
-เป็นเด็กพิเศษที่มีความพิการระดับปานกลางถึงระดับมากจึงไม่อาจจะเรียนร่วมเต็มเวลาได้ พอเรียนเสร็จก็นำกลับไปเรียนที่โรงเรียนการศึกษาพิเศษเหมือนเดิมเพราะว่าเด็กเป็นเด็กที่มีอาการปานกลางถึงหนักมากทำให้มาเรียนร่วมกับเด็กปกติได้ในบางเวลาและบางช่วงกิจกรรมเท่านั้นและการมาเรียนร่วมเด็กไม่สามารถที่จะมาเรียนได้เองจะต้องเป็นครูที่โรงเรียนการศึกษาพิเศษพามาเรียนเท่านั้น

รูปแบบการจัดกาศึกษา
-การศึกษาปกติทั่วไป(Regular  Education)  เป็นการศึกษาแบบแรกและแบบเดียวในสมัยนั้นเพราะว่าเป็นแบบโบราณที่สุด
-การศึกษาพิเศษ(Special  Education) เป็นการศึกษาที่รัฐบาลเริ่มจัดตั้งขึ้นมาเพื่อที่ให้เด็พิเศษได้ับการศึกษาเหมือนเด็กปกติเพราะว่าแต่ก่อนผู้ปกครองไม่ให้กล้าและไม่ยอมรับและไม่กล้าที่จะพาลูกออกมาข้างนอกเด็กพิเศษเหล่านี้จะถูกอยู่แบบซุกซ้อนและสังคมยังไม่ยอมเปิดใจที่จะยอมรับและให้การศึกษาเพราะว่าอีกอย่างก็ยังไม่มีโรงเรียนที่เป็นการสอนแบบเรียนร่วมหรือเรียนรวมเลยจึกทำให้รัฐบาลเปิดโอกาสในการศึกษาให้กับเด็กพิเศษเหล่านี้และต่อมาก็?
-เปิดการศึกษาแบบเรียนร่วม(Integrated  Education หรือ  Mainstreaming)  เป็นการศึกษาแบบเรียนร่วมตามเวลาเป็นการเปิดโอกาศเพียงส่วนหนึ่งให้เด้กพิเศษมาทำกิจกรมและปรับตัวให้คุ้นเคยกับเด็กปกติเพื่อที่จะทำให้เด็กปกติเกิดการยอมรับและให้โอกาส
-การศึกษาแบบเรียนรวม(Inclusive  Education) เป็นการศึกษาที่เด็กปกติและเด็กพิเศษเรียนรวมกันและอยู่ในสังคมเดียวกันได้เด็กปกติจะต้องยอมรับได้ที่จะคิดว่าคนทุกคนมีความเท่าเทียมกันไม่สามารถที่จะแบ่งชนชั้นกันได้และเด็กพิเศษก็จะต้องปรับเข้ากับเด้กปกติด้วยเช่นกัน

 ความหมายของกาศึกษาแบบเรียนร่วม (Integrated  Education หรือ  Mainstreaming)   
-การจัดให้เด็กพิเศษเข้าไปในระบบการศึกษาทั่วไป 
-มีกิจกรรมที่ให้เด็กพิเศษกับเด็กทั่วไปทำร่วมกัน
-ใช้ช่วงเวลาช่วงใดช่วงหนึ่งในแต่ละวันก็คือให้เด็กพิเศษมาเรียนร่วมในห้องเรียนกับเด็กปกติมาทำกิจกรiมบางช่วงเวลาสัก 1-2 ชั่วโมงและพากลับไปศูนย์การศึกษาพิเศษเช่นเดิม
- ครูปฐมวัยและครูการศึกษาพิเศษร่วมมือกัน

การเรียนร่วมเต็มเวลา( Mainstreaming)
-การจัดให้เด็กพิเศษเรียนมนโรงเรียนปกติตลอดเวลาที่เด็กอยู่ในโรงเรียน
-เด็กพิเศษที่จะได้รับการจัดกระบวนกาเรียนรู้และบริกานอกห้องเรียนเหมือนเด็กปกติเด็กที่จะสามารถเรียนร่วมเต็มเวลาได้ก็คือเด็กที่มีความพิการอยูในระดับน้อยหรือขั้นปกติ
-มีเป้าหมายเพื่อให้เด็กเข้าใจซึ่งกันและกันตอบสนองความต้องการซึ่งกันและกันและมีปฎิสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน
-เด็กปกติจะยอมรับความหลากหลายของมนุษย์เข้าใจว่าคนเราเกิดมาไม่จำเป็นต้องเหมือนกันทุกอย่างท่ามกลางความแตกต่างกันมนุษย์เราต้องการความรักความสนใจและความเอาใจใส่เช่นเดียวกันทุกคน

ความหมายของการศึกษาแบบเรียนรวม(Inclusive  Education) 
-การศึกษาสำหรับทุกคนคือเป็นการศึกษาที่เด็กปกติกับเด็กพิเศษเรียนรวมกันโดยที่ไม่ใช่การเรียนแค่บางเวลาเท่านั้นแต่เป็นการมาเรียนแบบเต็มวันโดยที่ให้เด็กๆทุกคนคิดว่าทุกคนเท่าเทียมกันในสังคมไม่มีใครเหนือกว่าใครทั้งนั้น
-รับเด็กเข้ามาเรียนรวมกันตั้งแต่เริ่มเข้ารับการศึกษาคือเป็นการศึกษาที่พ่อแม่ผู้ปกครองเป็นคนพาลูกมาเรียนเองตั้งแต่เทอมแรกโดยที่ไม่ใช่เป็นการพามาของทางศูนย์การศึกษาพิเศษพ่อปกครองเป็นคนดูแลเด็กจะมีสถานะเหมือนเด็กปกติและจะไม่อยู่ในเครือข่ายของศูนย์การศึกษาพิเศษใดๆเลยอีกด้วยแต่ว่าจะต้องมีแพทย์หรือผู้เชี่ยวชาญให้คำปรึกษา
-จัดให้มีบริการพิเศษตามความต้องการของแต่ละบุคคล

บันทึกอนุทินครั้งที่ 2

* หมายเหตุ*
 ไม่มีการเรียนการสอนเนื่องจาก อาจารย์ไม่สบาย

บันทึกอนุทินครั้งที่ 1

          ความรู้ที่ได้รับ 

- อาจารย์เล่าประสบการณ์ที่ไปปรับปรุงห้องเรียนให้เด็กปฐมวัยที่จังหวัดบุรีรัมย์
- ทบทวบความรู้เดิมวิชาการอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษของเทอมที่ผ่านมา
- อาจารย์พาร้องเพลง 5 เพลง ดังนี้

ร้องเพลงอนุบาล

เพลง นม

นมเป็นอาหารดี มีคุณค่าต่อร่างกาย
ดื่มแล้วชื่นใจ ร่างกายแข็งแรง
ยังมีนมถั่วเหลือง ดื่มได้ดีและไม่แพง
ดื่มแล้วชื่นใจ ร่างกายแข็งแรง

เพลง อาบน้ำ

อาบน้ำซู่ซ่า ล้างหน้าล้างตา
ฟอกกสบู่ถูตัว ชำระเหงื่อไคล
ราดน้ำให้ทั่ว เสร็จแล้วเช็ดตัว
อย่าให้ขุ่นมัว สุขกายสบายใจ

เพลง แปรงฟัน

ตื่นเช้าเราแปรงฟัน
กินอาหารแล้วเราแปรงฟัน
ก่อนนอนเราแปรงฟัน
ฟันสะอาดขาวเป็นเงางาม
แปรงฟันที่ถูกวิธี ดูซิต้องแปรงขึ้นลง
แปรงฟันที่ถูกวิธี ดูซิต้องแปรงขึ้นลง

เพลง พี่น้องกัน

บ้านของฉันอยู่ด้วยกันมากหลาย
พ่อ แม่ ปู่ย่า ลุง ป้า ตา ยาย
มีทั้งน้า อา พี่และน้องมากมาย
ทุกคนสุขสบาย เราเป็นพี่น้องกัน

เพลง มาโรงเรียน

เรามาโรงเรียน เราเขียนเราอ่าน
ครูเล่านิทานสนุกถูกใจ
เราเรียนเราเล่น เราเป็นสุขใจ
ร่าเริงแจ่มใสเมื่อมาโรงเรียน