- คัดแยกเด็กพิเศษ
- ครูต้องรู้ว่าเด็กมีปัญหาอะไร
- ประเมินพัฒนาการเด็กเป็นระยะ
- เด็กสามารถทำอะไรและทำอะไรไม่ได้บ้าง
- จึงเริ่มเขียนแผน IEP
IEP ประกอบด้วย
- ข้อมูลส่วนตัวเด็ก
- ระบุว่าเด็กมีความจำเป็นต้องได้รับบริการอะไรพิเศษบ้าง
- ระบุความสามารถของเด็กในปัจจุบัน
- เป้าหมายระยะยาว - ระยะสั้น
- ระบุวัน เดือน ปีที่เริ่มทำการสอน และคาดคะเนการสิ้นสุดของแผน
- วิธีการประเมินผล
ประโยชน์ต่อเด็ก
- ได้เรียนรู้ความสามารถของตนเอง
- ได้โอกาสพัฒนาความสามรถของตนเอง
- ได้รับการศึกษาและฟื้นฟูต่อเนื่องอย่างเหมาะสม
ประโยชน์ต่อครู
- เป็นแนวทางในการเลือกสื่อในการสอนและวิธีการสอน ที่เหมาะสมกับเด็ก
- เป็นแนวทางการจัดการเรียนการสอนที่ตรงกับความสามรถและความต้องการของเด็ก
- ตรวจสอบและประเมินผลได้เป็นระยะ
ประโยชน์ต่อผู้ปกครอง
- ได้มีส่วนร่วมในการจัดทำแผนการเรียนรายบุคคล เพื่อให้เด็กพัฒนาความสามรถได้สูงสุดตามศักยภาพ
- เกิดความร่วมมือในการพัฒนาเด็ก มีการติดต่อสื่อสารกันอย่างต่อเนื่องและใกล้ชิดระหว่างบ้านกับโรงเรียน
ขั้นตอนการทำแผน IEP
- การกำหนดจุดมุ่งหมาย ระยะยาว/ระยะสั้น
- การรวบรวมข้อมูล ทางการแพทย์ การประเมินด้านต่างๆ บันทึกจากครู ผู้ปกครองและผู้ที่เกี่ยวข้อง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น