วันศุกร์ที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทินครั้งที่ 16

สอบร้องเพลง หนูจับได้ "ลุงมาชาวนา"
           
เพลง ลุงมาชาวนา
ลุงมาชาวนาเลี้ยงวัว เลี้ยงควาย
  เอาไว้ใช้ไถนา
ลุงมาชาวนาเลี้ยงหมา เลี้ยงเเมว
  ไว้เป็นเพื่อนลุงมา
* หมาก็เห่า บ๊อก บ๊อก
เเมวก็ร้อง เมี๊ยว เมี๊ยว 
ลุงมาไถนา วัวร้อง มอ มอ (ซำ้)
       

บันทึกอนุทินครั้งที่ 15

การเขียนแผน IEP 
  •    คัดแยกเด็กพิเศษ
  •    ครูต้องรู้ว่าเด็กมีปัญหาอะไร
  •    ประเมินพัฒนาการเด็กเป็นระยะ
  •    เด็กสามารถทำอะไรและทำอะไรไม่ได้บ้าง
  •    จึงเริ่มเขียนแผน IEP

   IEP ประกอบด้วย 
  •     ข้อมูลส่วนตัวเด็ก
  •     ระบุว่าเด็กมีความจำเป็นต้องได้รับบริการอะไรพิเศษบ้าง
  •     ระบุความสามารถของเด็กในปัจจุบัน
  •     เป้าหมายระยะยาว - ระยะสั้น
  •     ระบุวัน เดือน ปีที่เริ่มทำการสอน และคาดคะเนการสิ้นสุดของแผน
  •     วิธีการประเมินผล

ประโยชน์ต่อเด็ก 
  
  •     ได้เรียนรู้ความสามารถของตนเอง
  •     ได้โอกาสพัฒนาความสามรถของตนเอง
  •    ได้รับการศึกษาและฟื้นฟูต่อเนื่องอย่างเหมาะสม
ประโยชน์ต่อครู 

  •  เป็นแนวทางในการเลือกสื่อในการสอนและวิธีการสอน ที่เหมาะสมกับเด็ก
  •  เป็นแนวทางการจัดการเรียนการสอนที่ตรงกับความสามรถและความต้องการของเด็ก
  •  ตรวจสอบและประเมินผลได้เป็นระยะ

ประโยชน์ต่อผู้ปกครอง 
  •    ได้มีส่วนร่วมในการจัดทำแผนการเรียนรายบุคคล เพื่อให้เด็กพัฒนาความสามรถได้สูงสุดตามศักยภาพ
  •   เกิดความร่วมมือในการพัฒนาเด็ก มีการติดต่อสื่อสารกันอย่างต่อเนื่องและใกล้ชิดระหว่างบ้านกับโรงเรียน

ขั้นตอนการทำแผน IEP 

  •     การกำหนดจุดมุ่งหมาย ระยะยาว/ระยะสั้น
  •    การรวบรวมข้อมูล ทางการแพทย์ การประเมินด้านต่างๆ  บันทึกจากครู     ผู้ปกครองและผู้ที่เกี่ยวข้อง 

บันทึกอนุทึกครั้งที่ 14



                             ไม่มีการเรียนการสอนเพราะหยุดเทศกาลสงกรานต์

                      

บันทึกอนุทินครั้งที่ 13

การส่งเสริมทักษะต่างๆของเด็กพิเศษ
ทักษะพื้นฐานทางการเรียน

เป้าหมาย
   ช่วยให้เด็กเรียนรู้ได้
   มีความรู้สึกดีต่อตนเอง
   *เด็กรู้สึกว่า  ฉันทำได้
   อยากรู้อยากเห็น
   อยากสำรวจ  ทดลอง

ช่วงความสนใจ
   นิทานที่ใช้ต้องเล้าใจเวลาไม่นาน
   กิจกรรมศิลปะสำหรับเด็กพิเศษต้องไม่นานแปปเดียวเสร็จ  เพื่อที่เด็กจะได้รู้สึกว่าฉันทำได้

การเลียนแบบ
   เลียนแบบคนใกล้ตัว  ทักษะพื้นฐานการเรียน

การทำตามคำสั้ง  คำแนะนำ
   ต้องสั่งให้ทำพร้อมกับเพื่อนเพื่อที่เด็กพิเศษจะได้ทำ  พอทำบ่อยๆเด็กพิเศษก็สามารถทำเองได้

การรับรู้
   ได้ยิน  เห็น  สัมผัส  ลิ้มรส  กลิ่น
   ตอบสนองที่เหมาะสม

การควบคุมกล้ามเนื้อมัดเล็ก
   การกรอกน้ำ  ตรวงน้ำ
   ต่อบล็อก
   ศิลปะ
   มุมบ้าน
   ช่วยเหลือตนเอง
ความจำ
   สนทนา
   เมื่อเช้าหนูทานอะไรมา
   แกงจืดที่เรากินใส่อะไรบ้าง
  จำตัวละครในนิทาน
   จำชื่อครู  เพื่อน
   เล่นเกมทายของที่หาย

ทักษะคณิตศาสตร์  วิทยาศาสตร์
   
การวางแผนการเตรียมพื้นฐานทางวิชาการ
   จัดกลุ่มเด็ก
   เริ่มต้นการเรียนรู้โดยใช้เวลาสั้นๆ
   ใช้งานเด็กแต่ละคนอย่างชัดเจนว่าต้องทำอะไร
   ตืดชื่อเด็กตามที่นั่ง
   ใช้อุปกรณ์ที่เด็กคุ้นเคย
   บันทึกว่าเด็กชอบอะไรที่สุด
   รู้ว่าเมื่อไหร่จะเปลี่ยนงาน
   มีอุปกรณ์ให้สับเปลี่ยนใกล้มือ
   เตรียยมทุกอย่างให้พร้อมก่อนเด็กมาถึง
   พูดในทางที่ดี  (  ชมเข้าไว้)
   จัดกิจกรรมที่เด็กได้เคลื่อนไหว
   ทำบทเรียนให้สนุก

บันทึกอนุทึกครั้งที่ 12

ไม่มีการเรียนการสอน แต่ให้ช่วยกันเตรียมอุปกรณ์งานกีฬาสีของคณะ

บันทึกอนุทินครั้งที่ 11

ไม่มีการเรียนการสอน

บันทึกอนุทินครั้งที่ 10

การส่งเสริมทักษะต่างๆของเด็กพิเศษ

ทักษะการช่วยเหลือตัวเอง

เรียนรู้การดำรงชีวิตโดยอิสระให้มากที่สุด

- การกินอยู่
- การเข้าห้องน้ำ
- การแต่งตัว
- กิจวัตรต่างๆในชีวิตประจำวัน

การสร้างความอิสระ

- เด็กอยากช่วยเหลือตนเอง
- อย่าทำงานตามความสามารถ
- เด็กเลียนแบบการช่วยเหลือตนเองจากเพื่อน เด็กที่โตกว่าและผู้ใหญ่
ลำดับขั้นในการช่วยเหลือตนเอง

  ครูต้องย่อยงานให้เด็กเป็นทักษะการช่วยเหลือตนเองออกเป็นขั้นย่อยๆ  เรียงตามลำดับขั้นตอน   
เช่น   การเข้าส้วม

  • เข้าไปในห้องส้วม
  • ดึงกางเกงลงมา
  • ก้าวขึ้นไปนั่งบนส้วม
  • ปัสสาวะหรืออุจจาระ
  • ใช้กระดาษขำระเช็ดก้น
  • ทิ้งกระดาษชำระในตะกร้า
  • กดชักโครกหรือตักน้ำราด
  • ดึงกางเกงขึ้น
  • ล้างมือ
  • เช็ดมือ
  • เดินออกจากห้องส้วม

บันทึกอนุทินครั้งที่ 9

การส่งเสริมทักษะต่างๆของเด็กพิเศษ

   ทักษะภาษา
      การวัดความสามารถทางภาษา
      - เข้าใจสิ่งที่ผู้อื่นพูดไหม
      - ตอบสนองเมื่อมีคนพูดด้วยไหม
      - ถามหาสิ่งต่างๆไหม
      - บอกเล่าเหตุการณ์ต่างๆ  ที่เกิดขึ้นได้ไหม
      - ใช้คำศัพท์ของตัวเองกับเด็กคนอื่นไหม

      การออกเสียงผิด/พูดไม่ชัด
      - การพูดตกหล่น
      - การใช้เสียงหนึ่งแทนเสียงหนึ่ง
      - ติดอ่าง
      
      การปฏิบัติของครูและผุ้ใหญ่
      - ไม่สนใจในการพูดซ้ำหรือการออกเสียงไม่ชัด
      - *ห้ามบอกเด็กว่าพูดช้าๆ  ตามสบาย  คิดก่อนพูด
      - อย่าขัดจังหวะขณะเด็กพูด
      - อย่าเปลี่ยนมือข้างที่ถนัดของเด็ก
      - ไม่เปรียบเทียบการพูดของเด็กกับเด็กคนอื่น
      - เด็กที่พูดไม่ชัดอาจเกี่ยวข้องกับการได้ยิน
   
      ทักษะพื้นฐานทางภาษา
      - ทักษะการรู้ทางภาษา
      - การแสดงออกทางภาษา
      - การสื่อความหมายโดยไม่ใช้คำพูด